กันตรึมอีสานใต้ บุรีรัมย์ คณะเจิมศักดิ์ ส.บัวสวรรค์
เจิมศักดิ์ ส.บัวสวรรค์ หาใช่ฉายานักมวยดังสังกัดใดในวงการลูกหมัด หากแต่เป็นชื่อคณะดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้ที่มีหนุ่มน้อยร่างใหญ่ ‘ณรงค์เดช เชื้อเมืองพาน’ หรือ ‘แมน บ้านบัว’ เป็นเจ้าของ
เจิมศักดิ์ ส.บัวสวรรค์ หาใช่ฉายานักมวยดังสังกัดใดในวงการลูกหมัด หากแต่เป็นชื่อคณะดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้ที่มีหนุ่มน้อยร่างใหญ่ ‘ณรงค์เดช เชื้อเมืองพาน’ หรือ ‘แมน บ้านบัว’ เป็นเจ้าของ
น่าสนใจว่า ทำไมพลังอธิบายวัฒนธรรม ‘มโหรี-ปี่พาทย์’ ของไทย จึงไม่กว้างขวางครอบคลุมพื้นที่อีสานเหนือใต้อย่างที่ควรเป็น ทั้งที่มีอยู่ควบคู่พิณ แคน โปงลาง หมอลำ เจรียง กันตรึม แต่ทว่าการรับรู้ไม่ต่างพื้นที่สีเทา คืออาจรู้หรือเห็นว่ามี แต่ถูกทำให้ชัดแจ้งหรืออธิบายเป็นส่วนหนึ่งร่วมกับวัฒนธรรมกระแสหลักหรือไม่
พร้อมกับเสียงเม็ดฝนเข้าพรรษาที่วัดหนองไทร อ.นางรอง จ.บุรีรัมย์ เสียงประโคมปี่พาทย์ทุกเย็นวันโกนและเช้าวันพระตลอด ๓ เดือน ไม่เคยเงียบหายจากที่นี่ ความผูกพันระหว่างวัด ชุมชน กับวัฒนธรรมมโหรีปี่พาทย์ของผู้คนย่านนี้ยังแน่นแฟ้น
อดีตถึงปัจจุบัน“พิธีกรรมหลังความตาย” เป็นเรื่องสำคัญยิ่งสำหรับมนุษย์ หลักฐานที่เป็นหลักประกันเพื่อโลกหลังความตาย ทั้งสิ่งปลูกสร้าง เครื่องใช้ไม้สอย เครื่องประดับ ฯลฯ ที่พบบริเวณสุสานหรือหลุมศพ บ่งบอกว่าศพเหล่านั้นไม่ใช่ศพสามัญ หากแต่เป็นผู้ทรงเกียรติหรือหัวหน้าชุมชน
เจรียง หรือจำเรียง ดนตรีพื้นบ้านอีสานใต้ ภาษาเขมรแปลว่า ร้อง ใช้ขับลำเรื่องราวในพุทธศาสนา นิทานโบราณ เกี้ยวพาราสี หรือสุภาษิตเตือนใจ ประกอบการเล่นดนตรีในหลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นเจรียงซันตรูจ เจรียงกันกรอบกัย ฯลฯ
นายเผยเล่าความใฝ่ฝันในอนาคตของตนให้ฟัง ว่า “ผมอยากทำเครื่องดนตรีครบชุดเอาไว้เป็นอนุสรณ์อยู่คู่กับหมู่บ้านระไซร์ แล้วปลูกบ้านใหม่สักหลังหนึ่งสำหรับเก็บเครื่องดนตรีชุดนี้โดยเฉพาะ และเอาไว้เล่นดนตรี สอนดนตรีแก่ลูกหลานด้วย พวกเขาจะได้ร่ำเรียนกันต่อไป”